วันศุกร์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2555

12 ปีนักษัตร น่ารู้

ปีแรกคือปีชวดเป็นชื่อปีแรกของรอบปีนักษัตร มีสัญลักษณ์เป็นหนู พุทธศักราชที่ตรงกับปีชวด เช่น พ.ศ. 2503 พ.ศ. 2515 พ.ศ. 2527 พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2575 และ พ.ศ. 2587 เป็นต้น 

โดยวันที่เริ่มต้นและสิ้นสุดรอบปีนักษัตรไม่แน่นอนเมื่อเทียบกับปฏิทินสากล และนับต่างกันระหว่างแบบจีนกับแบบไทย
   

         ปีที่สองคือปีฉลูเป็นชื่อปีที่ 2 ของรอบปีนักษัตร มีสัญลักษณ์เป็นวัว พุทธศักราชที่ตรงกับปีฉลู เช่น พ.ศ. 2504 พ.ศ. 2516 พ.ศ. 2528 พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2576 และ พ.ศ. 2588 เป็นต้น 




โดยวันที่เริ่มต้นและสิ้นสุดรอบปีนักษัตรไม่แน่นอนเมื่อเทียบกับปฏิทินสากล และนับต่างกันระหว่างแบบจีนกับแบบไทย
   

        ปีที่สามคือปีขาลเป็นชื่อปีที่ 3 ของรอบปีนักษัตร มีสัญลักษณ์เป็นเสือ พุทธศักราชที่ตรงกับปีขาล เช่น พ.ศ. 2505 พ.ศ. 2517 พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2541 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2577 และ พ.ศ. 2589 เป็นต้น 


โดยวันที่เริ่มต้นและสิ้นสุดรอบปีนักษัตรไม่แน่นอนเมื่อเทียบกับปฏิทินสากล และนับต่างกันระหว่างแบบจีนกับแบบไทย
 

         ปีที่สี่คือปีเถาะเป็นชื่อปีที่ 4 ของรอบปีนักษัตร มีสัญลักษณ์เป็นกระต่าย พุทธศักราชที่ตรงกับปีเถาะ เช่น พ.ศ. 2506 พ.ศ. 2518 พ.ศ. 2530 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2566 พ.ศ. 2578 และ พ.ศ. 2590 เป็นต้น 


โดยวันที่เริ่มต้นและสิ้นสุดรอบปีนักษัตรไม่แน่นอนเมื่อเทียบกับปฏิทินสากล และนับต่างกันระหว่างแบบจีนกับแบบไทย โดยมีพระธาตุประจำปีเกิดตามความเชื่อล้านนา คือ พระธาตุแช่แห้ง อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน มีสีประจำปีคือสีเทา เป็นปีธาตุไม้ และมีทิศประจำปีคือทิศตะวันออก
   

ปีที่ห้าคือปีมะโรงเป็นชื่อปีที่ 5ของงรอบปีนักษัตร มีสัญลักษณ์เป็นงูใหญ่ พุทธศักราชที่ตรงกับปีมะโรง เช่น พ.ศ. 2507 พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2531 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2567 พ.ศ. 2579 และ พ.ศ. 2591 เป็นต้น 

โดยวันที่เริ่มต้นและสิ้นสุดรอบปีนักษัตรไม่แน่นอนเมื่อเทียบกับปฏิทินสากล และนับต่างกันระหว่างแบบจีนกับแบบไทย มีสีประจำปีคือสีแดงและสีม่วง เป็นปีธาตุไม้ และมีทิศประจำปีคือทิศตะวันออกกับทิศตะวันออกเฉียงใต้
   

         ปีที่หกคือปีมะเส็งเป็นชื่อปีที่ 6 ของรอบปีนักษัตร มีสัญลักษณ์เป็นงูเล็ก พุทธศักราชที่ตรงกับปีมะเส็ง เช่น พ.ศ. 2508 พ.ศ. 2520 พ.ศ. 2532 พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2568 พ.ศ. 2580 และ พ.ศ. 2592 เป็นต้น 



โดยวันที่เริ่มต้นและสิ้นสุดรอบปีนักษัตรไม่แน่นอนเมื่อเทียบกับปฏิทินสากล และนับต่างกันระหว่างแบบจีนกับแบบไทย มีสีประจำปีคือสีส้มและสีฟ้า เป็นปีธาตุไฟ และมีทิศประจำปีคือทิศตะวันออกกับทิศตะวันออกเฉียงใต้
   

ปีที่เจ็ดคือปีมะเมียเป็นชื่อปีที่ 7 ของรอบปีนักษัตร มีสัญลักษณ์เป็นม้า พุทธศักราชที่ตรงกับปีมะเมีย เช่น พ.ศ. 2509 พ.ศ. 2521 พ.ศ. 2533 พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2569 พ.ศ. 2581 และพ.ศ. 2593 เป็นต้น 

โดยวันที่เริ่มต้นและสิ้นสุดรอบปีนักษัตรไม่แน่นอนเมื่อเทียบกับปฏิทินสากล และนับต่างกันระหว่างแบบจีนกับแบบไทย มีสีประจำปีคือสีเขียว เป็นปีธาตุไฟ และมีทิศประจำปีคือทิศใต้
   

ปีที่แปดคือปีมะแม เป็นชื่อปีที่ 8 ของรอบปีนักษัตร มีสัญลักษณ์เป็นแพะ พุทธศักราชที่ตรงกับปีมะแม เช่น พ.ศ. 2510 พ.ศ. 2522 พ.ศ. 2534 พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2582 และ พ.ศ. 2594 เป็นต้น 

โดยวันที่เริ่มต้นและสิ้นสุดรอบปีนักษัตรไม่แน่นอนเมื่อเทียบกับปฏิทินสากล และนับต่างกันระหว่างแบบจีนกับแบบไทย
   

ปีที่เก้าคือปีวอก เป็นชื่อปีที่ 9 ของรอบปีนักษัตร มีสัญลักษณ์เป็นลิง พุทธศักราชที่ตรงกับปีวอก เช่น พ.ศ. 2511 พ.ศ. 2523 พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2547 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2571 พ.ศ. 2583 และ พ.ศ. 2595 เป็นต้น 

โดยวันที่เริ่มต้นและสิ้นสุดรอบปีนักษัตรไม่แน่นอนเมื่อเทียบกับปฏิทินสากล และนับต่างกันระหว่างแบบจีนกับแบบไทย
   

ปีที่สิบคือปีระกา เป็นชื่อปีที่ 10 ของรอบปีนักษัตร มีสัญลักษณ์เป็นไก่ พุทธศักราชที่ตรงกับปีระกา เช่น พ.ศ. 2512 พ.ศ. 2524 พ.ศ. 2536 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2572 พ.ศ. 2584 และ พ.ศ. 2596 เป็นต้น 

โดยวันที่เริ่มต้นและสิ้นสุดรอบปีนักษัตรไม่แน่นอนเมื่อเทียบกับปฏิทินสากล และนับต่างกันระหว่างแบบจีนกับแบบไทย
   

ปีที่สิบเอ็ดคือปีจอ เป็นชื่อปีที่ 11 ของรอบปีนักษัตร มีสัญลักษณ์เป็นหมา พุทธศักราชที่ตรงกับปีจอ เช่น พ.ศ. 2513 พ.ศ. 2525 พ.ศ. 2537 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2573 พ.ศ. 2585 และ พ.ศ. 2597 เป็นต้น 

โดยวันที่เริ่มต้นและสิ้นสุดรอบปีนักษัตรไม่แน่นอนเมื่อเทียบกับปฏิทินสากล และนับต่างกันระหว่างแบบจีนกับแบบไทย
   

     ปีที่สิบสองคือกุน เป็นชื่อปีที่ 12 ซึ่งเป็นปีสุดท้ายของรอบปีนักษัตร มีสัญลักษณ์เป็นหมู พุทธศักราชที่ตรงกับปีกุน เช่น พ.ศ. 2514 พ.ศ. 2526 พ.ศ. 2538 พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2574 พ.ศ. 2586 และ พ.ศ. 2598 เป็นต้น 



         









           

            
           โดยวันที่เริ่มต้นและสิ้นสุดรอบปีนักษัตรไม่แน่นอนเมื่อเทียบกับปฏิทินสากล และนับต่างกันระหว่างแบบจีนกับแบบไทย แต่ในทางความเชื่อของชาวล้านนา ปีกุนคือปีช้าง (กุน = กุญชร)
   

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น